|
|
|
|
|
|
|
ความสัมพันธ์
ระหว่าง ชัตเตอร์ กับ รูรับแสง
|
|
|
สิ่งที่มีความละเอียด
ซับซ้อนในกล้องที่จำเป็นต้องอาศัย ความเข้าใจในการปรับควบคุม
คือ รูรับแสง และ ความเร็วชัตเตอร์ทั้งสองสิ่งต่าง
|
|
|
มีหน้าที่กันคนละส่วน
คือ รูรับแสงบนเลนส์ ทำหน้าที่ จำกัด
ปริมาณ ของแสงที่เข้ามา และชัตเตอร์ จะทำหน้าที่คอยเปิด-ปิดม่านเพื่อให้ได้ |
|
|
้ผลของภาพ
ตามเวลา ที่กำหนดไว้และคุณสมบัติ ของทั้งสอง
อีกอย่างคือ รูรับแสงสร้างผลในเรื่องของความ
ชัดลึก และชัดตื้นขณะที่ ชัต |
|
|
เตอร์ สร้างผลในเรื่องความสั่นไหว
ของกล้อง และการเคลื่อนที่ของวัตถุ แต่
ทั้งสอง จะไม่สามารถ แยกอันหนึ่ง อันใดในการทำงานได้เลย
|
|
|
เพราะทั้งสองสิ่งล้วน
สัมพันธ์กัน อย่า งแยกจากกันไม่ได้ |
|
|
|
ดังนั้น
นักถ่ายภาพ จึงจำเป็น ต้องเลือกค่าที่เหมาะสมในการบันทึกภาพโดยใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงและรูรับแสงกว้าง
หรือจะใช้ |
|
|
|
ความเร็วชัตเตอร์ต่ำกับรูรับแสงแคบ
ทั้งสองกรณี ฟิล์มจะได้รับแสงในปริมาณที่เท่ากัน
และเป็นความสัมพันธ์ ของขนาดรูรับแสงและ |
|
|
ความเร็วชัตเตอร์
การเลือกค่าบันทึกภาพ |
|
|
|
บางครั้งสภาพแสงที่ต้องการบันทึกภาพนั้นมีสภาพแสงน้อย
ทำให้การบันทึกภาพนั้นต้องใช้รูรับแสงกว้าง
หรือ ความเร็วชัตเตอร์ |
|
|
|
ต่ำเพื่อให้ได้ฟิล์มได้รับแสงที่เพียงพอจะบันทึกภาพนั้นได้
หรือ ถ้าจะบันทึกภาพ ในที่ที่มีแสงแดดจัด
ก็อาจต้องใช้ ความเร็วชัตเตอร์ |
|
|
ที่สูงขึ้นหรือรูรับแสง
ที่แคบลง เพื่อให้ฟิล์ม ได้แสง ที่เหมาะสม
เช่นเดียวกัน |
|
|
|
ในการบันทึกภาพทั่วๆ
ไป จะ พบว่า ค่าแสงที่วัดได้ ในครั้งแรกนั้น
จะเป็น เพียงค่ากลางจากนั้นนักถ่ายภาพจะพิจารณา
ว่าภาพที่ |
|
|
|
ี่ต้องการบันทึกควรจะใช้ความเร็วชัตเตอร์เท่าไร
ใช้รูรับแสงขนาดใด ซึ่งถ้าหากเลือกใช้
ความเร็วชัตเตอร์สูง เพื่อหยุดความเคลื่อนไหว
|
|
|
ก็ต้องชดเชยกับ
ค่าแสงที่สูญเสียไป โดยเลือกรูรับแสงที่กว้างขึ้น
หรือเมื่อต้องการ เลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่ำก็ต้องใช้รูรับแสง
ที่แคบขึ้น เ |
|
|
พื่อลดค่าแสงที่เข้ามา
มากกเกินไปนั่นเอง |
|
|
|
|
|
|
|