|
|
|
ประเภทของฟิล์ม
แบ่งได้ 2 ประเภท |
|
1. ฟิล์มขาวดำ |
|
2. ฟิล์มสี |
|
แบ่งได้ 3 ชนิดคือ |
|
1.
ฟิล์มเนกาตีฟ ( negative film) เป็นฟิล์มที่ใช้ถ่ายภาพโดยทั่วไปมีเยื่อ |
ไวแสงซึ่งให้สีของภาพตรงกันข้ามกับสีของวัตถุ
|
|
|
ภาพของฟิล์มที่ล้างแล้วจะมีสักษณะเป็นเนกาตีฟ
แต่เมื่อนำไปอัดขยายภาพก็จะได้ภาพที่มีสีตรงกับสีของวัตถุ
|
|
2. ฟิล์มโพสตีฟ
( Positive film ) เป็นฟิล์มที่ใช้สำหรับ copy
จากฟิล์มเนกาตีฟให้เป็นฟิล์มโพสิตีฟ หรือสไลด์
|
|
3. ฟิล์มริเเวอร์ซัล
( Reversal film) คือฟิล์มประเภทสไลด์ เป็นฟิล์มโปร่งใสเมื่อถ่ายภาพแล้วนำไปล้างฟิล์มที่ได้จะได้จะเป็นภาพโปร่งใส์ |
|
หรือสไลด์ |
|
1. Panchromatic
film บันทึกแสงสีทุกแสงสีตามสัดส่วนความสว่างของสี
ใกล้เคียงกับที่ตาเรามองเห็น |
|
2. Orthochromaticfilm
ไวต่อแสงสีทุกแสงสี ยกเว้นแสงสีแดงอย่างเดียว |
|
3. Blue-sensitive
film บันทึกเฉพาะแสงสีน้ำเงินอย่างเดียวจะบอดสีอื่นๆ
|
|
4.
Infla-red film จะมีความไวแสงต่อแสงสีที่เลยช่วงสีแดง |
ไปคือแสงอินฟราเรด
|
|
|
-
ฟิล์มที่มีความไวแสงสูงจะเป็นฟิล์มที่มีเกรนหยาบ
ถ้ามี |
ความไวแสงต่ำจะมีเกรนละเอียดกว่า |
|
|
-
ฟิล์มที่ได้รับการฉายแสงมากเกินไปหรือใช้เวลาล้างฟิล์ม |
มากเกินไปจะมีลักษณะOver |
|
|
-
การนำฟิล์มไปอัดขยายภาพถ้าให้มีขนาดไม่แตกต่างไป |
จากฟิล์มมากนัก
ภาพจะคมมากกว่า |
|
|
อัดภาพที่มีขนาดใหญ่ |
|
เป็นการรตัดกันของฟิล์ม
ฟิล์มที่สามารถบันทึกได้เฉพาะค่าสีในระดับต่างๆได้เพียง
2-3สีจะมีความตัดกันของภาพสูงฟิล์มที่มีความไวแสงต่ำ |
|
จะมี contrast
สูง |
|
รีโชล์ฟวิ่ง
พาวเวอร์ คือความสามารถของฟิล์มที่จะบันทึกรายละเอียดของภาพอย่างชัดเจนเพียงใด
ค่า Resoving power จะมากหรือน้อย |
|
ขึ้นอยู่กับความหนาของวัตถุไวแสง
ถ้ามีความไวแสงสูง ภาพจะไม่คมชัดรายละเอียดมีน้อย
Resoving power จึงมีต่ำ |
|
ช่วงความกว้างในการรับแสงของฟิล์ม
ฟิล์มที่มีช่วงของการรับแสงกว้างใาก สามรถถ่ายภาพ
Over หรือ Under ได้ประมาณ 1-2 สตอป |
|
แต่ฟิล์มบางชนิด
เช่น ฟิล์มสไลด์หรือฟิล์มสี Positive ISO 64
หรือ 32 จะถ่ายภาพ Over หรือ Under ได้ไม่เกิน
1/2 สตอป ถ้า |
|
ผิดไปถึง
1หรือมากกว่าจะจะให้สีซีดจางลงได้ |
|
|
|
-
ฟิล์มสี Type A ใช้กับแหล่งของแสงที่มีอุณหภูมิสี
3400 K |
คือแสงไฟ
Photoflood |
|
|
-
ฟิล์ม Type B ใช้กับแหล่งของแสงที่มีอุณหภูมิสี
3200 K |
คือแสงไฟ
Photolamp |
-
ฟิล์ม Daylight ใช้กับแหล่งของแสงที่มีอุณหภูมิส |
ประมาณ
5400 K |
ควรอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจกับข้อมูลต่างๆที่ปรากฎอยู่บนฟิล์ม
|
|
1. ความไวแสงของฟิล์ม
( filmspeed ) เป็นตัวเลขแสดงค่าความไวแสงของฟิล์มม้วนนั้นๆมักจะเป็นตัวเลขแสดงค่าASA/ISO
|
|
หรือ DIN |
|
2. วันหมดอายุ
( Film expiration ) เป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือบอก
วัน/เดือน/ปี ที่ฟิล์มที่หมดอายุการใช้งาน |
|
3. ตัวเลขบอกรหัส
( Code No.) และจำนวนภาพ รหัสนี้จะบ่งบอกถึงขนาดของฟิล์มลักษณะการบรรจุฟิล์มว่าเป็นแบบใด |
|
และจำนวนภาพที่สามารถจะถ่ายได้ |
|
4. ตัวหนังสือบอกชื่อทางการค้าของฟิล์ม
จะเป็นการบ่งบอกถึงชนิดของฟิล์มนั้น |
|
|
การเลือกใช้ฟิล์มตามความเร็วของฟิล์ม |
|
- Slow films ( ASA
/ ISO ไม่เกิน 100) ใช้ได้ดีในที่ๆมีแสงสว่างมากๆ
มีโทนสีเทาหลายระดับและไม่มีเกรน ต้องการความเที่ยงตรง
|
|
ในการตั้ง
exposureเหมาะสำหรับภาพที่ต้องขยายมากๆ |
|
-
Medium films ( ASA /ISO 100-200 ) ใช้ได้ดี |
มากภายใต้สภาพต่างๆกัน
มี |
|
|
exposure
latitude กว้าง เปิดโอกาสให้ใช้ exposure
|
คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน
2 สต๊อป |
|
|
เหมาะกับการถ่ายภาพทั่วๆไป
มีเกรนเล็กน้อย |
|
-
Fast films (ASA /ISO 200-400) มี exposure |
latitudeกว้างมาก
เหมาะสำหรับใช้ถ่ายภาพทั่วๆ |
ไปภาพที่มีการเคลื่อนไหว
มีเกรนสูง |
|
- Extra- fast
film ในกรณีพิเศษเฉพาะ เหมาะสำหรับถ่ายภาพเมื่อมีแสงน้อยมากๆใช้เมื่อต้องการภาพที่มีเกรนหยาบมาก |
|
- เก็บฟิล์มไว้ในที่มืด
อย่าเปิดกล่องฟิล์มจนกว่าจะใช้งาน |
|
- ที่เก็บฟิล์มต้องมีความเย็นและแห้ง |
|
- ต้องไม่ให้ฟิล์มถูกความชื้น |
|
- บริเวณที่เก็บฟิล์มต้องปราศจากกัมมันตรภาพรังสี |
|
- ขึ้นฟิล์มและกรอฟิล์มอย่างช้าๆ |
|
- ควรล้างฟิล์มที่ถ่ายไปแล้วทันทีเท่าที่ทำได้ |
|
- TravelNow
- TravelNow.com |